[๘๑] มรรคมีองค์ ๕ในสมัยนั้น เป็นไฉน?
สัมมาทิฏฐิ สัมมาสังกัปปะ
สัมมาวายามะ สัมมาสติ สัมมาสมาธิ
[๓๕] สัมมาทิฏฐิ มีในสมัยนั้น เป็นไฉน? ปัญญา กิริยาที่รู้ชัด ความวิจัย
ความเลือกสรร ความวิจัยธรรม
ความกำหนดหมาย ความเข้าไปกำหนด
ความเข้าไปกำหนดเฉพาะ ภาวะที่รู้
ภาวะที่ฉลาด ภาวะที่รู้ละเอียด
ความรู้แจ่มแจ้ง ความค้นคิด ความใคร่ครวญ ปัญญาเหมือนแผ่นดิน
ปัญญาเครื่องทำลายกิเลส
ปัญญาเครื่องนำทาง ความเห็นแจ้ง ความรู้ชัด ปัญญาเหมือนปฏัก ปัญญา ปัญญินทรีย์ ปัญญาพละปัญญาเหมือนศาตรา
ปัญญาเหมือนปราสาท ความสว่างคือปัญญา แสงสว่างคือปัญญา ปัญญาเหมือนประทีป ปัญญาเหมือนดวงแก้ว ความไม่หลง
ความวิจัยธรรม ความเห็นชอบ
ในสมัยนั้นอันใด
นี้ชื่อว่า สัมมาทิฏฐิ มีในสมัยนั้น.
[๓๖] สัมมาสังกัปปะ มีในสมัยนั้น เป็นไฉน?
ความตรึก ความตรึกอย่างแรง ความดำริ ความที่จิตแนบอยู่ในอารมณ์ ความที่จิต
แนบสนิทอยู่ในอารมณ์ ความยกจิตขึ้นสู่อารมณ์ ความดำริชอบ ในสมัยนั้น อันใด
นี้ชื่อว่า สัมมาสังกัปปะ มีในสมัยนั้น.
[๓๗] สัมมาวายามะ มีในสมัยนั้น เป็นไฉน?
การปรารภความเพียรทางใจ
ความขะมักเขม้น ความบากบั่น ความตั้งหน้า ความพยายาม ความอุตสาหะ ความทนทาน ความเข้มแข็ง ความหมั่น ความก้าวไปอย่างไม่ท้อถอย ความไม่ทอดทิ้งฉันทะ ความไม่ทอดทิ้งธุระ ความประคับประคองธุระ วิริยะ
วิริยินทรีย์ วิริยพละ
ความพยายามชอบ ในสมัยนั้น อันใด
นี้ชื่อว่า สัมมาวายามะ มีในสมัยนั้น.
[๓๘] สัมมาสติ มีในสมัยนั้น เป็นไฉน?
สติ ความตามระลึก ความหวนระลึก
สติ กิริยาที่ระลึก ความทรงจำ
ความไม่เลื่อนลอยความไม่ลืม
สติ สตินทรีย์ สติพละ ความระลึกชอบ
ในสมัยนั้น อันใด
นี้ชื่อว่า สัมมาสติ มีในสมัยนั้น.
[๓๙] สัมมาสมาธิ ในสมัยนั้น เป็นไฉน?
ความตั้งอยู่แห่งจิต ความดำรงอยู่แห่งจิต ความมั่นอยู่แห่งจิต ความไม่ส่ายไปแห่งจิต
ความไม่ฟุ้งซ่านแห่งจิต ภาวะที่จิตไม่ส่ายไป ความสงบแห่งจิต สมาธินทรีย์ สมาธิพละ ความตั้งจิตไว้ชอบ ในสมัยนั้น อันใด
นี้ชื่อว่า สัมมาสมาธิ มีในสมัยนั้น.
สภาวธรรมนี้ชื่อว่า มรรคมีองค์ ๕
มีในสมัยนั้น.
สัมมาทิฏฐิ สัมมาสังกัปปะ
สัมมาวายามะ สัมมาสติ สัมมาสมาธิ
[๓๕] สัมมาทิฏฐิ มีในสมัยนั้น เป็นไฉน? ปัญญา กิริยาที่รู้ชัด ความวิจัย
ความเลือกสรร ความวิจัยธรรม
ความกำหนดหมาย ความเข้าไปกำหนด
ความเข้าไปกำหนดเฉพาะ ภาวะที่รู้
ภาวะที่ฉลาด ภาวะที่รู้ละเอียด
ความรู้แจ่มแจ้ง ความค้นคิด ความใคร่ครวญ ปัญญาเหมือนแผ่นดิน
ปัญญาเครื่องทำลายกิเลส
ปัญญาเครื่องนำทาง ความเห็นแจ้ง ความรู้ชัด ปัญญาเหมือนปฏัก ปัญญา ปัญญินทรีย์ ปัญญาพละปัญญาเหมือนศาตรา
ปัญญาเหมือนปราสาท ความสว่างคือปัญญา แสงสว่างคือปัญญา ปัญญาเหมือนประทีป ปัญญาเหมือนดวงแก้ว ความไม่หลง
ความวิจัยธรรม ความเห็นชอบ
ในสมัยนั้นอันใด
นี้ชื่อว่า สัมมาทิฏฐิ มีในสมัยนั้น.
[๓๖] สัมมาสังกัปปะ มีในสมัยนั้น เป็นไฉน?
ความตรึก ความตรึกอย่างแรง ความดำริ ความที่จิตแนบอยู่ในอารมณ์ ความที่จิต
แนบสนิทอยู่ในอารมณ์ ความยกจิตขึ้นสู่อารมณ์ ความดำริชอบ ในสมัยนั้น อันใด
นี้ชื่อว่า สัมมาสังกัปปะ มีในสมัยนั้น.
[๓๗] สัมมาวายามะ มีในสมัยนั้น เป็นไฉน?
การปรารภความเพียรทางใจ
ความขะมักเขม้น ความบากบั่น ความตั้งหน้า ความพยายาม ความอุตสาหะ ความทนทาน ความเข้มแข็ง ความหมั่น ความก้าวไปอย่างไม่ท้อถอย ความไม่ทอดทิ้งฉันทะ ความไม่ทอดทิ้งธุระ ความประคับประคองธุระ วิริยะ
วิริยินทรีย์ วิริยพละ
ความพยายามชอบ ในสมัยนั้น อันใด
นี้ชื่อว่า สัมมาวายามะ มีในสมัยนั้น.
[๓๘] สัมมาสติ มีในสมัยนั้น เป็นไฉน?
สติ ความตามระลึก ความหวนระลึก
สติ กิริยาที่ระลึก ความทรงจำ
ความไม่เลื่อนลอยความไม่ลืม
สติ สตินทรีย์ สติพละ ความระลึกชอบ
ในสมัยนั้น อันใด
นี้ชื่อว่า สัมมาสติ มีในสมัยนั้น.
[๓๙] สัมมาสมาธิ ในสมัยนั้น เป็นไฉน?
ความตั้งอยู่แห่งจิต ความดำรงอยู่แห่งจิต ความมั่นอยู่แห่งจิต ความไม่ส่ายไปแห่งจิต
ความไม่ฟุ้งซ่านแห่งจิต ภาวะที่จิตไม่ส่ายไป ความสงบแห่งจิต สมาธินทรีย์ สมาธิพละ ความตั้งจิตไว้ชอบ ในสมัยนั้น อันใด
นี้ชื่อว่า สัมมาสมาธิ มีในสมัยนั้น.
สภาวธรรมนี้ชื่อว่า มรรคมีองค์ ๕
มีในสมัยนั้น.