แนะนำ : ปฏิปทา ๔
การปฏิบัติแบบ
ที่เป็นทางดำเนินให้ถึงจุดหมาย
คือความหลุดพ้นหรือความสิ้นอาสวะ
๑. ทุกขา ปฏิปทา ทันธาภิญญา
ปฏิบัติได้ลำบาก ทั้งรู้ได้ช้า
๒. ทุกขา ปฏิปทา ขิปปาภิญญา
ปฏิบัติลำบาก แต่รู้ได้เร็ว
๓. สุขา ปฏิปทา ทันธาภิญญา
ปฏิบัติสบาย แต่รู้ได้ช้า
๔. สุขา ปฏิปทา ขิปปาภิญญา
ปฏิบัติสบาย ทั้งรู้ได้ไว
---------------------
1. โยคาวจรบุคคล เจริญมรรคปฏิปทา
เพื่อเข้าถึงรูปภูมิ สงัดจากกาม
สงัดจากอกุศลธรรมทั้งหลายแล้ว
บรรลุปฐมฌานที่มีปฐวีกสิณเป็นอารมณ์.
2. ผัสสะ ฯลฯ อวิกเขปะ มีในสมัยนั้น ฯลฯ
สภาวธรรมเหล่านี้ ชื่อว่า ธรรมเป็นกุศล.
อธิบาย : ข้อความข้างบนนี้
ข้อ1.จะใช้แทนด้วยอักษร A
ข้อ2.จะใข้แทนด้วยอักษร B
ปฏิปทา ๔
[๑๖๒] ธรรมเป็นกุศล เป็นไฉน?
A เป็นทุกขาปฏิปทาทันธาภิญญา ฯลฯ
อยู่ในสมัยใดแล้ว B
[๑๖๓] ธรรมเป็นกุศล เป็นไฉน?
A เป็นทุกขาปฏิปทาขิปปาภิญญา ฯลฯ
อยู่ในสมัยใดแล้ว B
[๑๖๔] ธรรมเป็นกุศล เป็นไฉน?
A เป็นสุขาปฏิปทาทันธาภิญญา ฯลฯ
อยู่ในสมัยใดแล้ว B
[๑๖๕] ธรรมเป็นกุศล เป็นไฉน?
A เป็นสุขาปฏิปทาขิปปาภิญญา ฯลฯ
อยู่ในสมัยใดแล้ว B
[๑๖๖] ธรรมเป็นกุศล เป็นไฉน?
โยคาวจรบุคคล เจริญมรรคปฏิปทา
เพื่อเข้าถึงรูปภูมิ บรรลุทุติยฌาน ฯลฯ
บรรลุตติยฌาน ฯลฯ บรรลุจตุตถฌาน ฯลฯบรรลุปฐมฌาน ฯลฯ บรรลุปัญจมฌาน
ที่มีปฐวีกสิณเป็นอารมณ์
เป็นทุกขาปฏิปทาทันธาภิญญา ฯลฯ
ที่มีปฐวีกสิณเป็นอารมณ์
เป็นทุกขาปฏิปทาขิปปาภิญญา ฯลฯ
ที่มีปฐวีกสิณเป็นอารมณ์
เป็นสุขาปฏิปทาทันธาภิญญา ฯลฯ
ที่มีปฐวีกสิณเป็นอารมณ์
เป็นสุขาปฏิปทาขิปปาภิญญา ฯลฯ
อยู่ในสมัยใด ผัสสะ ฯลฯ อวิกเขปะ
มีในสมัยนั้น ฯลฯ
สภาวธรรมเหล่านี้ ชื่อว่า ธรรมเป็นกุศล.
ปฏิปทา ๔ จบ
----------------
อารมณ์ ๔
[๑๖๗] ธรรมเป็นกุศล เป็นไฉน?
A มีกำลังน้อย มีอารมณ์เล็กน้อย ฯลฯ
อยู่ในสมัยใดแล้ว B
[๑๖๘] ธรรมเป็นกุศล เป็นไฉน?
A มีกำลังน้อย มีอารมณ์ไพบูลย์ ฯลฯ
อยู่ในสมัยใดแล้ว B
[๑๖๙] ธรรมเป็นกุศล เป็นไฉน?
A มีกำลังมาก มีอารมณ์เล็กน้อย ฯลฯ
อยู่ในสมัยใดแล้ว B
[๑๗๐] ธรรมเป็นกุศล เป็นไฉน?
A มีกำลังมาก มีอารมณ์ไพบูลย์ ฯลฯ
อยู่ในสมัยใดแล้ว B
[๑๗๑] ธรรมเป็นกุศล เป็นไฉน?
โยคาวจรบุคคล เจริญมรรคปฏิปทา
เพื่อเข้าถึงรูปภูมิ บรรลุทุติยฌาน ฯลฯ
บรรลุตติยฌาน ฯลฯ บรรลุจตุตถฌาน ฯลฯ บรรลุปฐมฌาน ฯลฯ บรรลุปัญจมฌาน
ที่มีปฐวีกสิณเป็นอารมณ์
มีกำลังน้อย มีอารมณ์เล็กน้อย ฯลฯ
มีกำลังน้อย มีอารมณ์ไพบูลย์ ฯลฯ
มีกำลังมาก มีอารมณ์เล็กน้อย ฯลฯ
มีกำลังมาก มีอารมณ์ไพบูลย์ ฯลฯ
อยู่ในสมัยใด ผัสสะ ฯลฯ
อวิกเขปะ มีในสมัยนั้น ฯลฯ
สภาวธรรมเหล่านี้ ชื่อว่า ธรรมเป็นกุศล.
อารมณ์ ๔ จบ
--------------
แจกฌานอย่างละ ๑๖
[๑๗๒] ธรรมเป็นกุศล เป็นไฉน?
A เป็นทุกขาปฏิปทาทันธาภิญญา
มีกำลังน้อย มีอารมณ์เล็กน้อย ฯลฯ
อยู่ในสมัยใดแล้ว B
ธรรมเป็นกุศล เป็นไฉน?
A เป็นทุกขาปฏิปทาทันธาภิญญา
มีกำลังน้อย มีอารมณ์ไพบูลย์ ฯลฯ
อยู่ในสมัยใดแล้ว B
ธรรมเป็นกุศล เป็นไฉน?
A เป็นทุกขาปฏิปทาทันธาภิญญา
มีกำลังมาก มีอารมณ์เล็กน้อย ฯลฯ
อยู่ในสมัยใดแล้ว B.
ธรรมเป็นกุศล เป็นไฉน?
A เป็นทุกขาปฏิปทาทันธาภิญญา
มีกำลังมาก มีอารมณ์ไพบูลย์ ฯลฯ
อยู่ในสมัยใดแล้ว B.
[๑๗๓] ธรรมเป็นกุศล เป็นไฉน?
A เป็นทุกขาปฏิปทาขิปปาภิญญา
มีกำลังน้อย มีอารมณ์เล็กน้อย ฯลฯ
อยู่ในสมัยใดแล้ว B.
ธรรมเป็นกุศล เป็นไฉน?
A เป็นทุกขาปฏิปทาขิปปาภิญญา
มีกำลังน้อย มีอารมณ์ไพบูลย์ ฯลฯ
อยู่ในสมัยใดแล้ว B
ธรรมเป็นกุศล เป็นไฉน?
A เป็นทุกขาปฏิปทาขิปปาภิญญา
มีกำลังมาก มีอารมณ์เล็กน้อย ฯลฯ
อยู่ในสมัยใดแล้ว B
ธรรมเป็นกุศล เป็นไฉน?
A เป็นทุกขาปฏิปทาขิปปาภิญญา
มีกำลังมาก มีอารมณ์ไพบูลย์ ฯลฯ
อยู่ในสมัยใดแล้ว B.
[๑๗๔] ธรรมเป็นกุศล เป็นไฉน?
A เป็นสุขาปฏิปทาทันธาภิญญา
มีกำลังน้อย มีอารมณ์เล็กน้อย ฯลฯ
อยู่ในสมัยใดแล้ว B
ธรรมเป็นกุศล เป็นไฉน?
A เป็นสุขาปฏิปทาทันธาภิญญา
มีกำลังน้อย มีอารมณ์ไพบูลย์ ฯลฯ
อยู่ในสมัยใดแล้ว B.
ธรรมเป็นกุศล เป็นไฉน?
A เป็นสุขาปฏิปทาทันธาภิญญา
มีกำลังมาก มีอารมณ์เล็กน้อย ฯลฯ
อยู่ในสมัยใดแล้ว B.
ธรรมเป็นกุศล เป็นไฉน?
A เป็นสุขาปฏิปทาทันธาภิญญา
มีกำลังมาก มีอารมณ์ไพบูลย์ ฯลฯ
อยู่ในสมัยใดแล้ว B
[๑๗๕] ธรรมเป็นกุศล เป็นไฉน?
A เป็นสุขาปฏิปทาขิปปาภิญญา
มีกำลังน้อย มีอารมณ์เล็กน้อย ฯลฯ
อยู่ในสมัยใดแล้ว B
ธรรมเป็นกุศล เป็นไฉน?
A เป็นสุขาปฏิปทาขิปปาภิญญา
มีกำลังน้อย มีอารมณ์ไพบูลย์ ฯลฯ
อยู่ในสมัยใดแล้ว B
ธรรมเป็นกุศล เป็นไฉน?
A เป็นสุขาปฏิปทาขิปปาภิญญา
มีกำลังมาก มีอารมณ์เล็กน้อย ฯลฯ
อยู่ในสมัยใดแล้ว B.
ธรรมเป็นกุศล เป็นไฉน?
A เป็นสุขาปฏิปทาขิปปาภิญญา
มีกำลังมาก มีอารมณ์ไพบูลย์ ฯลฯ
อยู่ในสมัยใดแล้ว B.
[๑๗๖] ธรรมเป็นกุศล เป็นไฉน?
โยคาวจรบุคคล เจริญมรรคปฏิปทา
เพื่อเข้าถึงรูปภูมิ บรรลุทุติยฌาน ฯลฯ
บรรลุตติยฌาน ฯลฯ บรรลุจตุตถฌาน ฯลฯ บรรลุปฐมฌาน ฯลฯ บรรลุปัญจมฌาน
ที่มีปฐวีกสิณเป็นอารมณ์
เป็นทุกขาปฏิปทาทันธาภิญญา
มีกำลังน้อย มีอารมณ์เล็กน้อย ฯลฯ
เป็นทุกขาปฏิปทาทันธาภิญญา
มีกำลังน้อย มีอารมณ์ไพบูลย์ ฯลฯ
เป็นทุกขาปฏิปทาทันธาภิญญา
มีกำลังมาก มีอารมณ์เล็กน้อย ฯลฯ
เป็นทุกขาปฏิปทาทันธาภิญญา
มีกำลังมาก มีอารมณ์ไพบูลย์ ฯลฯ
เป็นทุกขาปฏิปทาขิปปาภิญญา
มีกำลังน้อย มีอารมณ์เล็กน้อย ฯลฯ
เป็นทุกขาปฏิปทาขิปปาภิญญา
มีกำลังน้อย มีอารมณ์ไพบูลย์ ฯลฯ
เป็นทุกขาปฏิปทาขิปปาภิญญา
มีกำลังมาก มีอารมณ์เล็กน้อย ฯลฯ
เป็นทุกขาปฏิปทาขิปปาภิญญา
มีกำลังมาก มีอารมณ์ไพบูลย์ ฯลฯ
เป็นสุขาปฏิปทาทันธาภิญญา
มีกำลังน้อย มีอารมณ์เล็กน้อย ฯลฯ
เป็นสุขาปฏิปทาทันธาภิญญา
มีกำลังน้อย มีอารมณ์ไพบูลย์ ฯลฯ
เป็นสุขาปฏิปทาทันธาภิญญา
มีกำลังมาก มีอารมณ์เล็กน้อย ฯลฯ
เป็นสุขาปฏิปทาทันธาภิญญา
มีกำลังมาก มีอารมณ์ไพบูลย์ ฯลฯ
เป็นสุขาปฏิปทาขิปปาภิญญา
มีกำลังน้อย มีอารมณ์เล็กน้อย ฯลฯ
เป็นสุขาปฏิปทาขิปปาภิญญา
มีกำลังน้อย มีอารมณ์ไพบูลย์ ฯลฯ
เป็นสุขาปฏิปทาขิปปาภิญญา
มีกำลังมาก มีอารมณ์เล็กน้อย ฯลฯ
เป็นสุขาปฏิปทาขิปปาภิญญา
มีกำลังมาก มีอารมณ์ไพบูลย์ ฯลฯ
อยู่ในสมัยใด ผัสสะ ฯลฯ อวิกเขปะ
มีในสมัยนั้น ฯลฯ
สภาวธรรมเหล่านี้ ชื่อว่า ธรรมเป็นกุศล.
แจกฌานอย่างละ ๑๖ จบ
-----------------------
[๑๗๗] ธรรมเป็นกุศล เป็นไฉน?
โยคาวจรบุคคล เจริญมรรคปฏิปทาเพื่อเข้าถึงรูปภูมิ
การปฏิบัติแบบ
ที่เป็นทางดำเนินให้ถึงจุดหมาย
คือความหลุดพ้นหรือความสิ้นอาสวะ
๑. ทุกขา ปฏิปทา ทันธาภิญญา
ปฏิบัติได้ลำบาก ทั้งรู้ได้ช้า
๒. ทุกขา ปฏิปทา ขิปปาภิญญา
ปฏิบัติลำบาก แต่รู้ได้เร็ว
๓. สุขา ปฏิปทา ทันธาภิญญา
ปฏิบัติสบาย แต่รู้ได้ช้า
๔. สุขา ปฏิปทา ขิปปาภิญญา
ปฏิบัติสบาย ทั้งรู้ได้ไว
---------------------
1. โยคาวจรบุคคล เจริญมรรคปฏิปทา
เพื่อเข้าถึงรูปภูมิ สงัดจากกาม
สงัดจากอกุศลธรรมทั้งหลายแล้ว
บรรลุปฐมฌานที่มีปฐวีกสิณเป็นอารมณ์.
2. ผัสสะ ฯลฯ อวิกเขปะ มีในสมัยนั้น ฯลฯ
สภาวธรรมเหล่านี้ ชื่อว่า ธรรมเป็นกุศล.
อธิบาย : ข้อความข้างบนนี้
ข้อ1.จะใช้แทนด้วยอักษร A
ข้อ2.จะใข้แทนด้วยอักษร B
ปฏิปทา ๔
[๑๖๒] ธรรมเป็นกุศล เป็นไฉน?
A เป็นทุกขาปฏิปทาทันธาภิญญา ฯลฯ
อยู่ในสมัยใดแล้ว B
[๑๖๓] ธรรมเป็นกุศล เป็นไฉน?
A เป็นทุกขาปฏิปทาขิปปาภิญญา ฯลฯ
อยู่ในสมัยใดแล้ว B
[๑๖๔] ธรรมเป็นกุศล เป็นไฉน?
A เป็นสุขาปฏิปทาทันธาภิญญา ฯลฯ
อยู่ในสมัยใดแล้ว B
[๑๖๕] ธรรมเป็นกุศล เป็นไฉน?
A เป็นสุขาปฏิปทาขิปปาภิญญา ฯลฯ
อยู่ในสมัยใดแล้ว B
[๑๖๖] ธรรมเป็นกุศล เป็นไฉน?
โยคาวจรบุคคล เจริญมรรคปฏิปทา
เพื่อเข้าถึงรูปภูมิ บรรลุทุติยฌาน ฯลฯ
บรรลุตติยฌาน ฯลฯ บรรลุจตุตถฌาน ฯลฯบรรลุปฐมฌาน ฯลฯ บรรลุปัญจมฌาน
ที่มีปฐวีกสิณเป็นอารมณ์
เป็นทุกขาปฏิปทาทันธาภิญญา ฯลฯ
ที่มีปฐวีกสิณเป็นอารมณ์
เป็นทุกขาปฏิปทาขิปปาภิญญา ฯลฯ
ที่มีปฐวีกสิณเป็นอารมณ์
เป็นสุขาปฏิปทาทันธาภิญญา ฯลฯ
ที่มีปฐวีกสิณเป็นอารมณ์
เป็นสุขาปฏิปทาขิปปาภิญญา ฯลฯ
อยู่ในสมัยใด ผัสสะ ฯลฯ อวิกเขปะ
มีในสมัยนั้น ฯลฯ
สภาวธรรมเหล่านี้ ชื่อว่า ธรรมเป็นกุศล.
ปฏิปทา ๔ จบ
----------------
อารมณ์ ๔
[๑๖๗] ธรรมเป็นกุศล เป็นไฉน?
A มีกำลังน้อย มีอารมณ์เล็กน้อย ฯลฯ
อยู่ในสมัยใดแล้ว B
[๑๖๘] ธรรมเป็นกุศล เป็นไฉน?
A มีกำลังน้อย มีอารมณ์ไพบูลย์ ฯลฯ
อยู่ในสมัยใดแล้ว B
[๑๖๙] ธรรมเป็นกุศล เป็นไฉน?
A มีกำลังมาก มีอารมณ์เล็กน้อย ฯลฯ
อยู่ในสมัยใดแล้ว B
[๑๗๐] ธรรมเป็นกุศล เป็นไฉน?
A มีกำลังมาก มีอารมณ์ไพบูลย์ ฯลฯ
อยู่ในสมัยใดแล้ว B
[๑๗๑] ธรรมเป็นกุศล เป็นไฉน?
โยคาวจรบุคคล เจริญมรรคปฏิปทา
เพื่อเข้าถึงรูปภูมิ บรรลุทุติยฌาน ฯลฯ
บรรลุตติยฌาน ฯลฯ บรรลุจตุตถฌาน ฯลฯ บรรลุปฐมฌาน ฯลฯ บรรลุปัญจมฌาน
ที่มีปฐวีกสิณเป็นอารมณ์
มีกำลังน้อย มีอารมณ์เล็กน้อย ฯลฯ
มีกำลังน้อย มีอารมณ์ไพบูลย์ ฯลฯ
มีกำลังมาก มีอารมณ์เล็กน้อย ฯลฯ
มีกำลังมาก มีอารมณ์ไพบูลย์ ฯลฯ
อยู่ในสมัยใด ผัสสะ ฯลฯ
อวิกเขปะ มีในสมัยนั้น ฯลฯ
สภาวธรรมเหล่านี้ ชื่อว่า ธรรมเป็นกุศล.
อารมณ์ ๔ จบ
--------------
แจกฌานอย่างละ ๑๖
[๑๗๒] ธรรมเป็นกุศล เป็นไฉน?
A เป็นทุกขาปฏิปทาทันธาภิญญา
มีกำลังน้อย มีอารมณ์เล็กน้อย ฯลฯ
อยู่ในสมัยใดแล้ว B
ธรรมเป็นกุศล เป็นไฉน?
A เป็นทุกขาปฏิปทาทันธาภิญญา
มีกำลังน้อย มีอารมณ์ไพบูลย์ ฯลฯ
อยู่ในสมัยใดแล้ว B
ธรรมเป็นกุศล เป็นไฉน?
A เป็นทุกขาปฏิปทาทันธาภิญญา
มีกำลังมาก มีอารมณ์เล็กน้อย ฯลฯ
อยู่ในสมัยใดแล้ว B.
ธรรมเป็นกุศล เป็นไฉน?
A เป็นทุกขาปฏิปทาทันธาภิญญา
มีกำลังมาก มีอารมณ์ไพบูลย์ ฯลฯ
อยู่ในสมัยใดแล้ว B.
[๑๗๓] ธรรมเป็นกุศล เป็นไฉน?
A เป็นทุกขาปฏิปทาขิปปาภิญญา
มีกำลังน้อย มีอารมณ์เล็กน้อย ฯลฯ
อยู่ในสมัยใดแล้ว B.
ธรรมเป็นกุศล เป็นไฉน?
A เป็นทุกขาปฏิปทาขิปปาภิญญา
มีกำลังน้อย มีอารมณ์ไพบูลย์ ฯลฯ
อยู่ในสมัยใดแล้ว B
ธรรมเป็นกุศล เป็นไฉน?
A เป็นทุกขาปฏิปทาขิปปาภิญญา
มีกำลังมาก มีอารมณ์เล็กน้อย ฯลฯ
อยู่ในสมัยใดแล้ว B
ธรรมเป็นกุศล เป็นไฉน?
A เป็นทุกขาปฏิปทาขิปปาภิญญา
มีกำลังมาก มีอารมณ์ไพบูลย์ ฯลฯ
อยู่ในสมัยใดแล้ว B.
[๑๗๔] ธรรมเป็นกุศล เป็นไฉน?
A เป็นสุขาปฏิปทาทันธาภิญญา
มีกำลังน้อย มีอารมณ์เล็กน้อย ฯลฯ
อยู่ในสมัยใดแล้ว B
ธรรมเป็นกุศล เป็นไฉน?
A เป็นสุขาปฏิปทาทันธาภิญญา
มีกำลังน้อย มีอารมณ์ไพบูลย์ ฯลฯ
อยู่ในสมัยใดแล้ว B.
ธรรมเป็นกุศล เป็นไฉน?
A เป็นสุขาปฏิปทาทันธาภิญญา
มีกำลังมาก มีอารมณ์เล็กน้อย ฯลฯ
อยู่ในสมัยใดแล้ว B.
ธรรมเป็นกุศล เป็นไฉน?
A เป็นสุขาปฏิปทาทันธาภิญญา
มีกำลังมาก มีอารมณ์ไพบูลย์ ฯลฯ
อยู่ในสมัยใดแล้ว B
[๑๗๕] ธรรมเป็นกุศล เป็นไฉน?
A เป็นสุขาปฏิปทาขิปปาภิญญา
มีกำลังน้อย มีอารมณ์เล็กน้อย ฯลฯ
อยู่ในสมัยใดแล้ว B
ธรรมเป็นกุศล เป็นไฉน?
A เป็นสุขาปฏิปทาขิปปาภิญญา
มีกำลังน้อย มีอารมณ์ไพบูลย์ ฯลฯ
อยู่ในสมัยใดแล้ว B
ธรรมเป็นกุศล เป็นไฉน?
A เป็นสุขาปฏิปทาขิปปาภิญญา
มีกำลังมาก มีอารมณ์เล็กน้อย ฯลฯ
อยู่ในสมัยใดแล้ว B.
ธรรมเป็นกุศล เป็นไฉน?
A เป็นสุขาปฏิปทาขิปปาภิญญา
มีกำลังมาก มีอารมณ์ไพบูลย์ ฯลฯ
อยู่ในสมัยใดแล้ว B.
[๑๗๖] ธรรมเป็นกุศล เป็นไฉน?
โยคาวจรบุคคล เจริญมรรคปฏิปทา
เพื่อเข้าถึงรูปภูมิ บรรลุทุติยฌาน ฯลฯ
บรรลุตติยฌาน ฯลฯ บรรลุจตุตถฌาน ฯลฯ บรรลุปฐมฌาน ฯลฯ บรรลุปัญจมฌาน
ที่มีปฐวีกสิณเป็นอารมณ์
เป็นทุกขาปฏิปทาทันธาภิญญา
มีกำลังน้อย มีอารมณ์เล็กน้อย ฯลฯ
เป็นทุกขาปฏิปทาทันธาภิญญา
มีกำลังน้อย มีอารมณ์ไพบูลย์ ฯลฯ
เป็นทุกขาปฏิปทาทันธาภิญญา
มีกำลังมาก มีอารมณ์เล็กน้อย ฯลฯ
เป็นทุกขาปฏิปทาทันธาภิญญา
มีกำลังมาก มีอารมณ์ไพบูลย์ ฯลฯ
เป็นทุกขาปฏิปทาขิปปาภิญญา
มีกำลังน้อย มีอารมณ์เล็กน้อย ฯลฯ
เป็นทุกขาปฏิปทาขิปปาภิญญา
มีกำลังน้อย มีอารมณ์ไพบูลย์ ฯลฯ
เป็นทุกขาปฏิปทาขิปปาภิญญา
มีกำลังมาก มีอารมณ์เล็กน้อย ฯลฯ
เป็นทุกขาปฏิปทาขิปปาภิญญา
มีกำลังมาก มีอารมณ์ไพบูลย์ ฯลฯ
เป็นสุขาปฏิปทาทันธาภิญญา
มีกำลังน้อย มีอารมณ์เล็กน้อย ฯลฯ
เป็นสุขาปฏิปทาทันธาภิญญา
มีกำลังน้อย มีอารมณ์ไพบูลย์ ฯลฯ
เป็นสุขาปฏิปทาทันธาภิญญา
มีกำลังมาก มีอารมณ์เล็กน้อย ฯลฯ
เป็นสุขาปฏิปทาทันธาภิญญา
มีกำลังมาก มีอารมณ์ไพบูลย์ ฯลฯ
เป็นสุขาปฏิปทาขิปปาภิญญา
มีกำลังน้อย มีอารมณ์เล็กน้อย ฯลฯ
เป็นสุขาปฏิปทาขิปปาภิญญา
มีกำลังน้อย มีอารมณ์ไพบูลย์ ฯลฯ
เป็นสุขาปฏิปทาขิปปาภิญญา
มีกำลังมาก มีอารมณ์เล็กน้อย ฯลฯ
เป็นสุขาปฏิปทาขิปปาภิญญา
มีกำลังมาก มีอารมณ์ไพบูลย์ ฯลฯ
อยู่ในสมัยใด ผัสสะ ฯลฯ อวิกเขปะ
มีในสมัยนั้น ฯลฯ
สภาวธรรมเหล่านี้ ชื่อว่า ธรรมเป็นกุศล.
แจกฌานอย่างละ ๑๖ จบ
-----------------------
[๑๗๗] ธรรมเป็นกุศล เป็นไฉน?
โยคาวจรบุคคล เจริญมรรคปฏิปทาเพื่อเข้าถึงรูปภูมิ
สงัดจากกาม สงัดจากอกุศลธรรมทั้งหลายแล้ว
บรรลุปฐมฌานที่มีอาโปกสิณเป็นอารมณ์ ฯลฯ
ที่มีเตโชกสิณเป็นอารมณ์ ฯลฯ
ที่มีวาโยกสิณเป็นอารมณ์ ฯลฯ
ที่มีนีลกสิณเป็นอารมณ์ ฯลฯ
ที่มีปีตกสิณเป็นอารมณ์ ฯลฯ
ที่มีโลหิตกสิณเป็นอารมณ์ ฯลฯ
ที่มีโอทาตกสิณเป็นอารมณ์ ฯลฯ
อยู่ในสมัยใด ผัสสะ ฯลฯ
อวิกเขปะ มีในสมัยนั้น ฯลฯ
สภาวธรรมเหล่านี้ชื่อว่า ธรรมเป็นกุศล.
กสิณ ๘ แจกอย่างละ ๑๖
-------------------------